เที่ยวสารคามชมเรือนอีสาน พิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

“รีวิว เที่ยวสารคามชมเรือนอีสาน พิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม”พิพิธภัณฑ์บ้านอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แหล่งรวมเรือนอีสานแต่ละประเภททั้งเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการดำรงชีวิตของผู้คนในอีกยุคหนึ่งที่อาจจะยังไม่ใช่ประวัติศาสตร์แต่ถ้าเทียบกับโลกปัจจุบันแล้วสถานที่แห่งนี้ก็ควรค่าแก่การอนุรักษ์และเรียนรู้ซึ่งได้รวมงานด้านศิลปะ วัฒนธรรมที่มีประวัติความเป็นมาที่แตกต่างกันแต่ก็ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นเรือนอีสานเหมือนกัน มาชมกันคะว่ามีเรือนอะไรบ้างเรือนประยุกต์หลังใหญ่ ประยุกต์ทั้งโครงสร้างและวัสดุแต่ก็คงรักษารูปแบบและภาพลักษณ์ของเรือนอีสานแบบดั้งเดิมไว้ลักษณะเป็นเรือนที่มีสามห้องใหญ่มีชานขนาดใหญ่เป็นตัวเชื่อมตัวเรือนด้านขวาใช้เป็นห้องประชุมเรือนตรงกลางเป็นห้องปฏิบัติการคลินิกพิพิธภัณฑ์เรือนด้านซ้ายเก็บเอกสารผู้ที่เป็นเจ้าของได้ต้องมีฐานะร่ำรวยมากเรือนสวยงามแข็งแรงน่าอยู่มากเลยเรือนประยุกต์หลังเล็ก เป็นเรือนเดี่ยวมีห้องใหญ่และห้องโล่งไว้นั่งเล่นลักษณะเรียบง่ายแข็งแรงสวยงามเช่นกันปัจจุบันใช้เป็นที่จัดแสดงนิทรรศการ และการเล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเรือนเกย มีลักษณะต่อเกย(ชาน)ต่อจากห้องนอนลักษณะโล่งใช้เป็นห้องรับแขกนั่งนอนเล่นพบปะพูดคุยและยังต่อเกยออกไปอีกเพื่อทำเป็นห้องครัวไว้ทำอาหารถัดจากห้องครัวจะมีตุ่มเก็บน้ำไว้ล้างถ้วยชามล้างเท้าก่อนเข้าห้องนอนใต้ถุนยกสูงโล่งเป็นที่เก็บวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือนพวกฟืนถ่านฯและคอกสัตว์เลี้ยงพวกวัว ควาย เรือนโข่ง มีรูปแบบเฉพาะคือห้องนอนติดกับชานไม่มีการต่อเกยลักษณะกะทัดรัดใต้ถุนสูงโล่งเช่นกันเรือนตูบต่อเล้า เล้าหมายถึงยุ้งฉางที่เก็บข้าวเปลือกที่เป็นผลผลิตของเกษตรกรในแต่ละปี(ทุกบ้านต้องมี)ตูบหมายถึง 1.เป็นบ้านอาศัยนอนของคู่แต่งงานใหม่ต้องการออกเรือนแต่ยังไม่มีเงินสร้าง 2.ใช้เก็บเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบอาชีพพวกคราด ไถ จอบ เสียม และวัสดุอุปกรณ์ในการทอผ้า ไน อิ๋ว ฟืมฯเรือนผู้ไท เป็นเรือนแฝดลักษณะคล้ายเรือนโข่งแตกต่างกันที่ขื่อและคานของเรือนหลังเล็กฟากยึดติดโครงสร้างของเรือนหลังใหญ่ใต้ถุนมีความสูงไม่มากมีให้เห็นในจังหวัดสกลนคร(เมื่อก่อนเห็นบ้านก็เดาได้ว่าหมู่บ้านนั้นเป็นคนผูไทหรือผูลาว)นอกจากเรือนแล้วยังต้องมีเครื่องมือที่เป็นอุปกรณ์ในการผลิตข้าว(แต่ก่อนยังไม่มีโรงสี)ใช้ครกตำข้าวผลิตข้าวสารโดยนำข้าวเปลือกมาตำเป็นข้าวสารซึ่งทุกบ้านต้องตำข้าวนะจ๊ะ เวลาตำข้าวหลังตะวันตกดินหรือหลังเที่ยงคืนจะได้ไม่เหนื่อยง่ายแต่ละครั้งใช้เวลา2-3ชั่วโมงข้าวถึงจะพอแช่(หม่า)ที่ขาดไม่ได้เลยคือบ่อน้ำลักษณะเสาไม้2ต้นข้างบนมีไม้ยึดไว้เป็นรูปแบบของบ่อน้ำที่วัดใช้ลอกดึงคุถังน้ำ(จะทุ่นแรงได้มาก)ตามหมู่บ้านใช้ไม้ไผ่ลำยาวใส่ตะขอไม้รูปทรงสามเหลี่ยมเกี่ยวคุถังลงไปตักน้ำในบ่อมือดึงไม้ไผ่ใช้แรงมากเสี่ยงหนามไม้ไผ่เสียบมือด้วยสวนสัตว์ขนาดเล็กมีสัตว์พื้นเมืองพวกไก่ป่า กวาง แพะ หมูป่าฯ มีไม่มากเลี้ยงไว้เพื่อบอกกล่าวเล่าถึงการดำรงชีวิตของผู้คนในยุคนั้นว่าต้องมีสัตว์เลี้ยง(ควาย)ไว้ไถนาฯถือเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมให้เด็กรุ่นใหม่และใครอีกหลายๆ คนที่ไม่ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมยุคสมัยนั้นได้ทราบประวัติความเป็นมาของคนอีสานว่ามีวิวัฒนาการไปมากเทียบเท่าในตัวเมืองไปแล้วผู้เขียนเกิดในชนบทยุคนั้นที่ไม่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ำประปาต้องตำข้าวกินและไม่คิดว่าโลกเราจะเปลี่ยนแปลงเร็ว ภาพหน้าปก โดยผู้เขียนภาพทั้งหมด โดยผู้เขียน อยากไปเที่ยวไหนหรือเปล่า? หาข้อมูลที่เที่ยวสุดปังได้ที่ App TrueID โหลดเลย ฟรี !
Read More

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

เรื่องล่าสุด

หมวดหมู่

เข้าเกม

918Kiss
sagame
pg slot
pg slot
สล็อต
บาคาร่า
joker123
pussy888
บาคาร่า
slotxo
คาสิโน
สล็อตเว็บตรง

ป้ายกำกับ

pg slot
pgslot
pg slot
pg
บาคาร่า
บาคาร่า
sa
slotxo
pussy888
918kiss
918kiss
918kiss
joker123
สล็อต
สล็อตออนไลน์เว็บตรง
เว็บหวยออนไลน์
ปั่นโปร
ปั่นโปร
ดูหนังออนไลน์
ดูหนัง
live22
pussy888
pussy888
joker123
สล็อตxo
ufabet
สล็อตออนไลน์
สล็อตออนไลน์
สล็อตออนไลน์ใหม่ๆ
เว็บคาสิโนออนไลน์
สล็อตเว็บตรง
คาสิโนออนไลน์อันดับ1
Slot online
ศูนย์รวมเว็บสล็อตออนไลน์
ศูนย์รวมเว็บสล็อตออนไลน์
ดูหนังออนไลน์
ดูหนังออนไลน์
ดูหนังออนไลน์
ดูหนังฟรี
ดูหนังออนไลน์
ดูหนังโป๊ HD
ดูหนังโป๊
หนังโป๊ไทย
ดูหนังโป๊ HD
ดูหนังโป๊